บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 12 กุมภาพันธ์ 2557 ครั้งที่ 11
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.
เวลาเลิกเรียน 12.20 น.
วันนี้ เพื่อนๆนำสื่อคณิตศาสตร์ที่ตัวเองทำมานำเสนอ ภายในห้องมีสื่อต่างๆมากมาย
บางกลุ่มทำมาจากวัสดุสังเคราะห์บางกลุ่มก็ทำมาจากวัสดุธรรมชาติ สื่อทุกชิ้นสวยงามมากและใช้เล่นกับเด็กปฐมวัยได้จริงๆ
กลุ่มของดิฉัน คือ เรียงลำดับพาเพลิน
อุปกรณ์ = กระดาษทราย สีน้ำ ลำไม้ไผ่ ฐานแผ่นไม้ ไม้ไผ่ยาว พู่กัน กาว ปากกาเคมี
วิธีการทำ= 1. ตัดลำไม้ไผ่ที่เป็นลำเล็กๆ พอเหมาะ มา 15 ป้อง ขัดด้วยกระดาษทราย
2. เอาแผ่นไม้ที่เป็นฐานมาเจาะรู 5 รู นำกาวเท่ลงไปช่องที่เจาะ แล้วเอาไม้ไผ่ที่ยาว มาเสียบลงไปในช่องแต่ละช่อง
3.วัดขนาดไม้ไผ่ยาว ตามลำดับ ตั้งแต่ 1 -5 แล้วตัดออกให้พอดี
4. ทาสีลำไม้ไผ่แต่ละป้องตั้งแต่ 1-5 โดยจำแนกสีแต่ละลำดับ
5.แล้วเขียนตัวเลขตรงฐานตั้งแต่ 1-5 จะได้สื่อเรียงลำดับพาเพลิน ตามรูป
เพื่อนๆออกมานำเสนอ สื่อ ของตนเอง
กลุ่มที่ 1 รูปทรงเรขาคณิตน่ารู้
บางกลุ่มทำมาจากวัสดุสังเคราะห์บางกลุ่มก็ทำมาจากวัสดุธรรมชาติ สื่อทุกชิ้นสวยงามมากและใช้เล่นกับเด็กปฐมวัยได้จริงๆ
กลุ่มของดิฉัน คือ เรียงลำดับพาเพลิน
อุปกรณ์ = กระดาษทราย สีน้ำ ลำไม้ไผ่ ฐานแผ่นไม้ ไม้ไผ่ยาว พู่กัน กาว ปากกาเคมี
วิธีการทำ= 1. ตัดลำไม้ไผ่ที่เป็นลำเล็กๆ พอเหมาะ มา 15 ป้อง ขัดด้วยกระดาษทราย
2. เอาแผ่นไม้ที่เป็นฐานมาเจาะรู 5 รู นำกาวเท่ลงไปช่องที่เจาะ แล้วเอาไม้ไผ่ที่ยาว มาเสียบลงไปในช่องแต่ละช่อง
3.วัดขนาดไม้ไผ่ยาว ตามลำดับ ตั้งแต่ 1 -5 แล้วตัดออกให้พอดี
4. ทาสีลำไม้ไผ่แต่ละป้องตั้งแต่ 1-5 โดยจำแนกสีแต่ละลำดับ
5.แล้วเขียนตัวเลขตรงฐานตั้งแต่ 1-5 จะได้สื่อเรียงลำดับพาเพลิน ตามรูป
เพื่อนๆออกมานำเสนอ สื่อ ของตนเอง
กลุ่มที่ 1 รูปทรงเรขาคณิตน่ารู้
กลุ่มที่ 2 จำนวนนับพาเพลิน
กลุ่มที่ 3 รูปทรงเรขาคณิตกับสิ่งของในชีวิตประจำวัน
กลุ่มที่ 4 จับคู่ภาพสีต่างกัน
กลุ่มที่ 5 เรียงลำดับพาเพลิน
กลุ่มที่ 6 นาฬิการหรรษา
กลุ่มที่ 8 เกมจับคู่หรรษา
กลุ่มที่ 10 เกมติ๊กต็อก
กลุ่มที่ 11 มาช่วยกันนับเถอะ
กลุ่มที่ 12 กล่องมหัศจรรย์
กลุ่มที่ 13 บันไดงูมหาสนุก
กลุ่มที่ 14 จิ๊กซอว์หรรษา
กลุ่มที่ 15 แผงไข่นับเลข
กลุ่มที่ 16 ตัวต่อแสนสนุก
กลุ่มที่ 17 ร้านค้าพาเพลิน
สื่อที่ประทับใจที่สุดคือ สื่อร้านค้าพาเพลิน
**ข้อเสนอแนะ .... ควรมีสิ่งของในภาพที่เด็กสามารถจับต้องได้ อาจจะเป็นของจริงหรือของเล่นก็ได้ เพราะจะทำให้เด็กเกิดความสนใจมากขึ้นและอยากเล่นสื่อชนิดนี้มากขึ้น
สรุป สื่อทุกชิ้นสอดคล้องกับการเรียนคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยได้ในหลายด้านๆ เพื่อให้เด็กได้เล่นและฝึกพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็ก โดยการเล่นผ่านสื่อ
การนำไปใช้/ประโยชน์ที่ได้รับ
-สื่อทุกชิ้นใช้ประกอบการเรียน การเล่น กับเด็กปฐมวัยได้จริง ๆ
-ฝึกพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัยได้ ในการเล่นของเด็กแต่ละครั้ง
-ส่งเสริมการเรียนคณิตศาสตร์อย่างง่ายๆ เช่น ตัวเลข รูปทรง ระยะ ทิศทาง
-ส่งเสริมการเล่นของเด็กได้อย่างอิสระ กับเพื่อนๆ ได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น