บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ตฤณ แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 22 มกราคม 2557 ครั้งที่ 9
เวลาเข้าสอน 08.00 น. เวลาเรียน 08.30 น.
เวลาเลิกเรียน 12.20 น.
วันนี้ทำกิจกรรมเกี่ยวกับ การทำรูปทรงเรขาคณิตและการจำแนกสี อาจารย์แจกกระดาษให้นักศึกษา และอุปกรณ์อื่นๆ สี กรรไกร ไม้บรรทัด กาว ให้ใช้กันเป็นกลุ่มๆ วันนี้หนาวมากๆ ทุกคนใส่เสื้อกันหนาวกันหมด อาจารย์ก็ใส่ น่ารักมากๆเลย ดูเหมือนเด็กเลย อาจารย์เราก็เป็นคนเปิดเพลงอีกเหมือนเดิม เป็นดีเจ เปิดเพลงให้นักศึกษาไปด้วยทำงานไปด้วย
เพื่อนๆ กำลัง พากันวางแผน
เสร็จแล้วคะ ผลงานของกลุ่มพวกเรา
6 สหายเพื่อนรัก
ผลงานของเพื่อนๆ
เพื่อนๆ ออกมานำเสนอ ผลงาน
การนำไปใช้/ประโยชน์ที่ได้รับ
-นำไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้โดยอาจจะเล่านิทาน หรือ บรรยายให้เด็กฟังเพื่อให้เกิดการเรียนรู้มากขึ้น
-เด็กสามารถจำแนกสี เรียงลำดับ นับจำนวนได้
-เด็กสามารถเปรียบเทียบ และรู้จักรูปทรงต่างๆ เช่น วงกลม สีเหลี่ยม สามเหลี่ยม เป็นต้น
-เด็กเกิดจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
พอเสร็จจากการนำเสนอแล้วอาจารย์ก็ยกตัวอย่างการสอนคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ในภาพนี้คือ การจำแนกประเภทของสัตว์ ที่เป็นสัตว์มีพิษและไม่มีพิษ
ในภาพนี้คือ การจำแนกประเภทของสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า
ในภาพนี้คือ การเปรียบเทียบระหว่าง อาหารที่มีปรโยชน์และไม่มีประโยชน์
ในภาพนี้คือการสำรวจ ร่มแบบใดที่หนูชอบ
ในภาพนี้คือ การสังเกต การเปรียบเทียบ ความเหมือน ความต่าง
การนำไปใช้/ประโยชน์ที่ได้รับ
เด็กได้เรียนรู้การเปรียบเทียบถึงความเหมือนและความแตกต่างของสัตว์ 2 ชนิด คือ แมว และ วัว ว่าสัตว์ 2ชนิดมีความต่างกันคืออะไร และมีความเหมือนกันคืออะไร การเรียนรู้แบบนี้ช่วยให้เด็กเป็นคนรู้จักสังเกต จินตนาการ ความน่าจะเป็น ในการเปรียบเทียบสัตว์ 2 ชนิดนี้
กลุ่มที่ 3.การสำรวจสื่งที่ชอบ
เพื่อนๆ กำลัง พากันวางแผน
กลุ่มของฉันกำลังออกแบบ วาดรูป
เสร็จแล้วคะ ผลงานของกลุ่มพวกเรา
6 สหายเพื่อนรัก
ผลงานของเพื่อนๆ
เพื่อนๆ ออกมานำเสนอ ผลงาน
การนำไปใช้/ประโยชน์ที่ได้รับ
-นำไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้โดยอาจจะเล่านิทาน หรือ บรรยายให้เด็กฟังเพื่อให้เกิดการเรียนรู้มากขึ้น
-เด็กสามารถจำแนกสี เรียงลำดับ นับจำนวนได้
-เด็กสามารถเปรียบเทียบ และรู้จักรูปทรงต่างๆ เช่น วงกลม สีเหลี่ยม สามเหลี่ยม เป็นต้น
-เด็กเกิดจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
พอเสร็จจากการนำเสนอแล้วอาจารย์ก็ยกตัวอย่างการสอนคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ในภาพนี้คือ การจำแนกประเภทของสัตว์ ที่เป็นสัตว์มีพิษและไม่มีพิษ
ในภาพนี้คือ การเปรียบเทียบระหว่าง อาหารที่มีปรโยชน์และไม่มีประโยชน์
ในภาพนี้คือการสำรวจ ร่มแบบใดที่หนูชอบ
ในภาพนี้คือ การสังเกต การเปรียบเทียบ ความเหมือน ความต่าง
ในภาพนี้คือ การจำแนกประเภทของสัตว์ ที่เป็นสัตว์มีพิษและไม่มีพิษ
พออาจารย์สอนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยเสร็จแล้วก็ให้
งานชืิ้นหนึ่งทำเป็นกลุ่ม มี 3 กลุ่ม
1.การเปรียบเทียบ 2.การเปรียบเทียบความเหมือน-ความต่าง 3.การสำรวจสื่งที่ชอบ
กลุ่มที่ 1 การเปรียบเทียบระหว่างของใช้ในห้องนอนกับห้อง
การนำไปใช้/ประโยชน์ที่ได้รับ
เด็กได้เรียนรู้การเปรียบเทียบ สิ่งของต่างๆภายในบ้าน เช่น ห้องนอนกับห้องครัว ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร สิ่งของชนิดใดควรอยู่ในห้องนอน สิ่งของชนิดใดควรอยู่ในห้องควร การเปรียบเทียบนี้สอนให้เด็กเป็นคน รู้จักสังเกต ความน่าจะเป็น การเปรียบเทียบ และฝึกการใช้ชีวิตประจำวัน ของเด็กได้
กลุ่มที่ 2.การเปรียบเทียบความเหมือน-ความต่าง
การนำไปใช้/ประโยชน์ที่ได้รับ
เด็กได้เรียนรู้การเปรียบเทียบถึงความเหมือนและความแตกต่างของสัตว์ 2 ชนิด คือ แมว และ วัว ว่าสัตว์ 2ชนิดมีความต่างกันคืออะไร และมีความเหมือนกันคืออะไร การเรียนรู้แบบนี้ช่วยให้เด็กเป็นคนรู้จักสังเกต จินตนาการ ความน่าจะเป็น ในการเปรียบเทียบสัตว์ 2 ชนิดนี้
กลุ่มที่ 3.การสำรวจสื่งที่ชอบ
การนำไปใช้/ประโยชน์ที่ได้รับ
เด็กได้เรียนรู้การสำรวจสื่งที่ชอบ 4 ชนิด คือ ผีเสื้อ ปลา แมว นก โดยให้เด็กในห้องออกมาเขียนหรือติดกระดาษ ว่าตัวเองชอบสัตว์ชนิดไหน แล้วร่วมกันสรุปผลว่าเด็กในห้องชอบสัตว์ชนิดไหนมาก ชอบสัตว์ชนิดไหนน้อย และไม่ชอบสัตว์ตัวนั้น การเรียนรู้แบบนี้ช่วยส่งเสริมการคิดของเด็ก การมีเหตุผล การตอบคำถาม กล้าพูด กล้าคิด กล้าแสดงออก และการสังเกตสัตว์ในชีวิตประจำวัน
อาจารย์อธิบายให้นักศึกษาฟัง
เจอผลงานของกลุ่มตนเองและผลงานของเพื่อนๆในห้อง ปฐมวัย
6 สหายเพื่อนรัก
วันนี้สนุกมากคะ สนุกจริงๆ ทุกคนร่วมมือการทำผลงาน 2 ชิ้นนี้ร่วมกันอย่างสามัคคี แล้วก็ออกมานำเสนอผลงานของแต่ละกลุ่มเพื่อ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันภายในห้อง การเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยนั้นไม่ใช้เรื่องง่ายและก็ไม่ใช้เรื่องยาก อยู่ที่เราจะจัดการเรียน การสอนให้เด็กได้รับ ความรู้มาก หรือน้อยเท่านั้นเอง แล้วหลังจากการเรียนเด็กจะได้รับอะไรบ้าง เราควรคำนึงถึงเด็กเป็นหลักและการเรียนรู้ของเด็กนั้นต้องค่อยเป็นค่อยไป ........นะคะ